การติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ประจำปีงบประมาณ 2568
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567
✅ การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ หรือวิธีการสอนอื่นที่พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบของผู้เรียน
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
- การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยในประวัติศาสตร์
- ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
✅ มีการวัดและประเมินตามสภาพจริงและมีความหลากหลาย
ตัวอย่างเครื่องมือวัดและประเมินผล
- แบบประเมินกิจกรรมกลุ่มรัฐโบราณในแผ่นดินไทย
- แบบประเมินการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทของรัชกาลที่ 9 ในการส่งเสริมการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
- เครื่องมือวัดและประเมินผลรายวิชาหน้าที่พลเมือง
✅ มีหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และประชาธิปไตยในสังคมร่วมสมัย
ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้
- หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ม.1
- หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ม.2
- สังคมของเรา - พลเมืองดีในสังคม - รัฐและการปกครอง
- การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
✅ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ หรือวิธีการสอนอื่นที่พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบของผู้เรียนในสังคม ร่วมสมัยทันยุคปัจจุบัน
✅ มีการบูรณาการการเรียนรู้ และกำหนดชิ้นงาน / ภาระงาน ภายในสาระวิชา หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ หรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
✅ ใช้สื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
✅ มีแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และประชาธิปไตย ในสังคมร่วมสมัย
✅ มีผลงานนักเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในสังคมร่วมสมัย
✅ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ /มาตรฐาน และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลาง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเป็นไทย รักชาติยึดมั่นในศาสนา เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีที่มีวิถีชีวิตและมีส่วนร่วมในการเมืองการประครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
กิจกรรม ส22103 สังคมศึกษา 4
กิจกรรม ส22103 สังคมศึกษา 4
วันสำคัญทางศาสนา
กิจกรรม ประกวดสื่อสร้างสรรค์ Infographic ในหัวข้อ ต่อต้านการทุจริต / กิจกรรมวันรัฐธรรมนูญ ปีการศึกษา 2567 / การ์ตูนค่านิยม 12 ประการ
✅ การจัดกิจกรรมส่งเสริมหน้าที่พลเมือง ศีลธรรมและประชาธิปไตย
ความเป็นไทย
รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ความปรองดอง สมานฉันท์
✅ ออกแบบการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอนแบบเชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ มีการวัดและประเมินตามสภาพจริง และมีความหลากหลาย
✅ มีการบูรณาการชิ้นงาน / ภาระงาน ภายในสาระวิชา หรือต่างกลุ่มสาระ การเรียนรู้ จากการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ จัดหาหรือผลิตสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ มีหน่วยการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ดัวยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ มีแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning) ดัวยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
✅ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ดัวยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่เป็นแบบอย่าง
✅ มีผลงานนักเรียนที่เกิดจากการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ดัวยเทคโนโลยีดิจิทัลที่แสดงถึงทักษะการคิดขั้นสูง และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนที่เป็นแบบอย่าง
✅ การจัดการเรียนรู้ ภายใต้ STEAM Education ตามแนวคิด BCG Model
ด้านการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
✅ เอกสารการจัดหาหนังสือในห้องสมุด/ บัญชีรายชื่อสื่อการเรียนรู้/หนังสือที่จัดหาสำหรับผู้เรียน (ห้องสมุด)
✅ ข้อมูลการจัดหา e-Books หรือสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
✅ รายงานผลกิจกรรม/โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ เช่น โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ สัปดาห์หนังสือ หรือกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ฯลฯ
✅ หลักสูตรสถานศึกษา หรือเอกสารประกอบหลักสูตร เช่น คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ผลงานนักเรียน เป็นต้น ที่สะท้อนถึงการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และการวิเคราะห์จากสิ่งที่อ่านให้แก่ผู้เรียน
✅ การดำเนินการ/ ผลการคัดกรองประเมินการอ่าน - เขียน หรือผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน
✅ เอกสารหรือบันทึกกิจกรรมที่โรงเรียนจัดร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน
ด้านการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านตามแนวทางการประเมิน PISA
ห้องเรียนพิเศษ ม.1-ม.3
Mini English Program : MEP
☑️ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์
☑️ โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปี
☑️ แผนการรับนักเรียน/แนวปฏิบัติการรับนักเรียน
☑️ คำสั่งคณะกรรมการห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษ ม.1-ม.3
คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์ - อาชีพ
☑️ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์
☑️ โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปี
☑️ แผนการรับนักเรียน/แนวปฏิบัติการรับนักเรียน
☑️ คำสั่งคณะกรรมการห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษ ม.4-ม.6
คณิตศาสตร์ – ภาษาอังกฤษ
☑️ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์
☑️ โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปี
☑️ แผนการรับนักเรียน/แนวปฏิบัติการรับนักเรียน
☑️ คำสั่งคณะกรรมการห้องเรียนพิเศษ
จัดทำ MOU โครงการโรงเรียนเครือข่าย ไทย-สิงคโปร์ โดยกระทรวงศึกษาธิการ กับโรงเรียน Evergreen Secondary School
เอกสาร หรือรูปภาพเกี่ยวกับการพัฒนาครูผู้สอนที่สอนในโครงการห้องเรียนพิเศษ
สอบวัดสมรรถนะภาษาอังกฤษของครู
ศึกษาดูงานห้องเรียนพิเศษ
เอกสาร หรือรูปภาพเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ สื่อการเรียนรู้ และระบบเทคโนโลยี
หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ
เอกสารหรือรูปภาพเกี่ยวกับกิจกรรมทั้งในหลักสูตร และเสริมหลักสูตร
เอกสาร หรือรูปภาพเกี่ยวกับรางวัลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในปีการศึกษา 2566 – 2567
รายงานสารสนเทศข้อมูลการศึกษาต่อ ในปีการศึกษา 2566 ถึงปัจจุบัน
ผู้เรียนมีการสร้างสรรค์/ต่อยอด ผลงานในชั้นเรียน/นวัตกรรม/โครงงาน โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล/เทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ซึ่งเป็นผลมาจาก การจัดการเรียนรู้ของครู
ครูมีการเผยแพร่การนำเทคโนโลยีดิจิทัล/เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาช่วย ในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
สถานศึกษามีการพัฒนา/ประยุกต์ใช้ แพลตฟอร์มและสร้างเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime)ด้วยการนำเทคโนโลยีดิจิทัล/เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาใช้ในการบริหาร จัดการสถานศึกษาและส่งเสริมพัฒนา ครูและบุคลากรในสถานศึกษา
✅ สถานศึกษามีรูปแบบ/ โมเดลการบริหารสถานศึกษา ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารงาน 4 ฝ่าย/ Social Network ที่สถานศึกษา ใช้ในการติดต่อสื่อสารแจ้งข้อมูลข่าวสาร เช่น Facebook/Line อื่น ๆ
✅ สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการประจำปี/โครงการ/กิจกรรม/ การจัดอบรม/สัมมนาการส่งเสริม ครูเข้าร่วมอบรม/สรุปโครงการ/ กิจกรรม
✅ สถานศึกษามีแพลตฟอร์ม ที่เป็นช่องทางที่สนับสนุนการเรียน ได้ทุกที่ทุกเวลา Anywhere Anytime เช่น Google Sites, Google Classroom, Moodle, MOOC
✅ สถานศึกษาเป็นแบบอย่าง การปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการใช้ เทคโนโลยี/การเผยแพร่ผลงาน ทั้งในและนอกสถานศึกษา 10. การสร้างภาคีเครือข่าย กับหน่วยงานภายนอก/บันทึก ข้อตกลง (MOU) กับหน่วยงานอื่น / การศึกษาดูงาน
💻 ฐานข้อมูลโรงเรียนเทพลีลาจัดเก็บไว้เป็นเครือข่ายภายในและภายนอกสถานศึกษา
และสิทธิ์ในการใช้งานเฉพาะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนปัจจุบัน
ของโรงเรียนเท่านั้น โดยมีการกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลเป็นระดับการใช้งาน
โดยมอบหมายให้ศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์โรงเรียนเทพลีลา ทำหน้าที่ดูแล กำกับการใช้งาน
การประชุมวางแผนงานรับการประเมิน รอบ 5
ประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจ
ประชุมคณะทำงานคัดกรองข้อมูล
การประชุม virtual visit ร่วมกับคณะกรรมการ
การประชุมเตรียมความพร้อม Site Visit
วันรับการประเมิน Site Visit จากคณะกรรมการ
การเป็นแบบอย่างที่ดี Best Practice ในมาตรฐานที่ 2
ตัวชี้วัดที่ 2.7 Tepleela Safety School สถานศึกษาปลอดภัยด้วยกระบวนการ 2N2S MODEL
การเป็นแบบอย่างที่ดี Best Practice ในมาตรฐานที่ 3
✅ ดำเนินการครบทุกรายการ
ตอนที่ 1 มาตรการด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา
1.1 การจัดสวัสดิภาพของนักเรียน
✅ การดูแลความปลอดภัยบริเวณหน้าประตูโรงเรียน
✅ การควบคุมกำกับรถยนต์รับจ้าง รับ – ส่ง นักเรียน
✅ การรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในสถานศึกษา
1.2 การจัดอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมโรงเรียนให้ปลอดภัย
✅ การเข้มงวดกวดขันให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่ปลอดภัย
✅ ประตูและรั้วโรงเรียนมีความแข็งแรงปลอดภัย
✅ ระบบป้องกัน ระบบแจ้งเตือน ระบบอาณัติสัญญาณเตือนภัยที่สามารถพร้อมใช้งาน
✅ การตรวจสอบสถานที่และจุดเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อนักเรียน
✅ การปรับปรุงพัฒนาสนามกีฬาเป็นไปตามมาตรฐานด้านความปลอดภัย
✅ พัฒนาห้องน้ำ ห้องส้วม ให้พร้อมใช้งาน สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ตามนโยบาย “สุขาดี มีความสุข”
✅ จัดโรงอาหารให้ถูกต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสาธารณสุข
1.3 การให้บริการดูแลด้านโภชนาการและสุขภาพ
✅ จัดรายการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ
✅ บุคลากรที่ประกอบอาหารปฏิบัติให้ได้ตามมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุข
✅ บำรุงรักษาภาชนะ อุปกรณ์ประกอบอาหารให้สะอาด ถูกสุขอนามัย และจัดเก็บเป็นสัดส่วน
✅ จัดห้องพยาบาลให้มีความพร้อมในการใช้งาน และจัดให้มีครูอนามัยโรงเรียนหรือผู้รับผิดชอบ ที่มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้
✅ จุดบริการน้ำดื่มสะอาด และการตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคและบริโภคให้ได้มาตรฐาน
✅ ควบคุมการจำหน่ายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ อาหารและน้ำที่ปรุงรสด้วยปริมาณน้ำตาลสูง ในโรงเรียน
✅ ควบคุมการจำหน่าย หรือปรุง หรือโฆษณา อาหาร ขนม และเครื่องดื่ม ที่มีส่วนผสมของ ยาเสพติด/สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้งสมุนไพรควบคุม (กัญชา)
1.5 การป้องกันโรคและฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5
✅ การจัดระบบคัดกรองและคัดแยกเด็กป่วย
✅ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างพฤติกรรมอนามัยที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
✅ การให้ความรู้ ความเข้าใจแก่นักเรียน ผู้ปกครองเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)
✅ มีเบอร์ติดต่อโรงพยาบาลในพื้นที่ที่ใกล้เคียงกับสถานศึกษา
✅ การให้ความรู้ ความเข้าใจแก่นักเรียน ผู้ปกครองเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในสถานศึกษา
1.6 การป้องกันภัยจากยาเสพติด/สารเสพติด
✅ การเข้มงวดกวดขันให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่ “ปลอดภัยยาเสพติด/สารเสพติดทุกชนิด”
✅ เสริมสร้างทักษะชีวิต เพื่อสร้างค่านิยมคนรุ่นใหม่ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า น้ำกระท่อม สมุนไพรควบคุม (กัญชา)
✅ ความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
✅ สถานศึกษาเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า น้ำกระท่อม และสมุนไพรควบคุม (กัญชา)
1.7 การป้องกันความรุนแรงในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา
✅ เข้มงวดกวดขันให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่ “ปลอดอาวุธทุกชนิด”
✅ จัดทำข้อมูลและเฝ้าระวังกลุ่มเด็กนักเรียนที่มีแนวโน้มใช้ความรุนแรงเป็นพิเศษ
✅ จัดทำมาตรการเฝ้าระวังและแผนที่จุดเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
✅ มีมาตรการป้องกัน ตรวจสอบและควบคุมการใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่เป็นอันตรายและสามารถนำมาใช้เป็นอาวุธในการก่อเหตุทำร้ายร่างกายนักเรียนหรือบุคลากรในโรงเรียน
✅ มีอุปกรณ์หรือเครื่องมือแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย
✅ มีการจัดระบบรักษาความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างเข้มงวด โดยมีเครือข่ายจากภายนอกร่วมดำเนินการ
✅ มีป้ายประชาสัมพันธ์สายด่วนหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือฉุกเฉินติดไว้ทุกอาคาร
✅ ซักซ้อมแผนเผชิญเหตุในสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
1.8 การป้องกันการเล่นการพนันออนไลน์
✅ ศึกษาสภาพปัญหาการพนันออนไลน์
✅ กำหนดแนวทางและมาตรการการแก้ไขปัญหาการเล่นพนันออนไลน์ในสถานศึกษา
✅ สร้างค่านิยม “ไม่เอาพนันออนไลน์”
✅ สอดส่อง ดูแล ไม่ให้มีการเล่นการพนันออนไลน์ในสถานศึกษา
✅ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบเพื่อให้ความรู้และเฝ้าระวังการสังเกตพฤติกรรมที่มีความเสี่ยง
✅ สร้างการรับรู้ด้วยการประชาสัมพันธ์ช่องทางต่าง ๆ
✅ การประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่เมื่อพบผู้ที่กระทำผิด
ตอนที่ 2 มาตรการเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน
2.1 การเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน
✅ การเยี่ยมบ้านนักเรียน ครบ 100%
✅ การจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริม/ชดเชย หรือกิจกรรมเสริมทักษะเพิ่มเติมให้กับนักเรียน
✅ การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีการพัฒนาทักษะด้านวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะการดำรงชีวิตอย่างต่อเนื่อง
✅ การจัดกิจกรรมแนะแนว การชี้แนะแนวทาง (Coaching) และการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน
✅ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เพื่อตระหนักถึงภัยและการป้องกันภัยคุกคามจากการใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยี
ตอนที่ 3 มาตรการด้านเครือข่ายและการสร้างความร่วมมือ
3.1 เครือข่ายและการสร้างความร่วมมือ
✅ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของสถานศึกษา ทั้งในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
✅ ประสานเครือข่ายและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันจัดกิจกรรมเสริมทักษะชีวิต
✅ อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา (พสน.) ในการสนธิกำลังกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร ฝ่ายปกครอง ชุมชน ผู้ปกครอง ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ตอนที่ 4 มาตรการแผนเผชิญเหตุ
4.1 มาตรการแผนเผชิญเหตุ
✅ ก่อนเกิดภัย เช่น การสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย กำหนดช่องทางสื่อสารและเตรียมอุปกรณ์การสื่อสาร จัดทำแผนเผชิญเหตุ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย มีระบบแจ้งเตือน การเฝ้าระวังเหตุทั้งในและนอกสถานศึกษา การฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ เป็นต้น
✅ ขณะเกิดภัย เช่น ดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ ปฐมพยาบาล และนำผู้ได้รับบาดเจ็บส่งโรงพยาบาล ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าช่วยเหลือ เป็นต้น
✅ หลังเกิดภัย เช่น ติดต่อผู้ปกครองมารับนักเรียนกลับบ้าน สำรวจความเสียหาย ประสานขอรับการช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทบทวน/ปรับปรุงการปฏิบัติตามแผน เป็นต้น
ตอนที่ 1 มาตรการจำหน่ายนักเรียน
โรงเรียนทำหนังสือขออนุญาตจำหน่ายนักเรียนแจ้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้การอนุญาตจำหน่ายนักเรียน
✅ มีบันทึกขอย้ายสถานศึกษาจากนักเรียน
✅ โรงเรียนทำหนังสือขอจำหน่ายนักเรียน
✅ โรงเรียนจำหน่ายนักเรียน โดยถอนชื่อออกจากระบบ DMC ตามปฏิทินที่กำหนด
✅ โรงเรียนระบุสาเหตุการจำหน่ายนักเรียน ตามเหตุสมควร
✅ มีเอกสารประกอบเช่น ใบสมัครรับย้ายสถานศึกษา
ตอนที่ 2 มาตรการติดตามและแก้ไขนักเรียนออกกลางคัน
2.1 ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา/ครูประจำวิชาได้เช็คชื่อนักเรียนทุกครั้งก่อนเริ่มเรียน
2.2 กรณีนักเรียนไม่มาเรียน ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา/ครูประจำวิชา ได้โทรศัพท์ติดตามไปยังนักเรียนและผู้ปกครองทันทีหลังรับทราบว่าขาดเรียน
2.3 ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา/ครูประจำวิชาได้ทำบันทึกแจ้งผู้บริหารโรงเรียนรับทราบและติดตามนักเรียน ในทุก 3 วัน/ 7 วัน/15 วัน และ 1 เดือน หลังจากไม่พบนักเรียน
2.4 ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา/ครูประจำวิชาลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน พร้อมด้วยแบบลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน
2.5โรงเรียนทำหนังสือขอสอบถามที่อยู่นักเรียน ไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การปกครองตามทะเบียนบ้านของนักเรียน เพื่อติดตาม ค้นหา ที่อยู่ปัจจุบันของนักเรียน
✅ มีหลักฐานการเช็คชื่อนักเรียนได้โทรประสานกับนักเรียนหรือผู้ปกครอง
✅ มีบีนทึกแจ้งผู้บริหารสถานศึกษาตามระยะเวลา
✅ แบบบันทึกเยี่ยมบ้านนักเรียน
✅ โรงเรียนทำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความช่วยเหลือ
ตอนที่ 3 มาตรการป้องกันเด็กออกกลางคัน
3.1 โรงเรียนจัดทำข้อมูล วิเคราะห์นักเรียนที่เสี่ยงต่อการออกจากระบบการศึกษา
3.2 โรงเรียนจัดการสอนหรือมีแนวทางที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 0 ร มส. มผ.
3.3 โรงเรียนมีการแนะแนวในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัว และด้านการศึกษาให้แก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง
3.4 โรงเรียนส่งเสริมการจัดการศึกษา หลากหลายรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้เรียน
3.5 โรงเรียนมีเครือข่ายในการช่วยเหลือด้านการจัดการศึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
✅ มีฐานข้อมูลนักเรียนเสี่ยงออกกลางคัน
✅ มีรูปแบบการแก้ไข 0 ร มส. มผ.
✅ โรงเรียนมีระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
✅ โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมการจัดการศึกษา
✅ โรงเรียนมีเครือข่ายการช่วยเหลือนักเรียน
ระบบงานทะเบียนวัดผล SGS
(ระบบกลางของ สพฐ.)
https://sgs.bopp-obec.info/
💻 ระบบงานทะเบียนวัดผล SGS
ครูผู้สอนทำการโอนคะแนนคะแนนเก็บรายหน่วย และคะแนนสอบกลางภาค/ ปลายภาคเรียน คุณลักษะอันพึงประสงค์ และอ่านคิดวิเคราะห์ ที่บันทึกจากระบบ toschool เพื่อประมวลตัดสินผลการเรียน
นักเรียนสามารถ login เข้าระบบเพื่อดูประกาศผลการเรียนได้ผ่านระบบออนไลน์หลังจากตัดสินผลการเรียน
ระบบแจ้งแก้ไขผลการเรียน
เข้าสู่ระบบผ่าน Tepleela Web Portal
💻 ระบบแจ้งแก้ไขผลการเรียน
งานทะเบียนวัดผลและประเมินผล จะทำการโอน ข้อมูลผลการเรียน 0, ร, มส และ มผ ประจำภาคเรียนของนักเรียนเข้าสู่ระบบ TL-0rms เพื่อเป็น ฐานข้อมูลให้กับครูผู้สอน และงานทะเบียนในการ ติดตามซ่อมผลการเรียน
นักเรียนดำเนินการการแก้ไขผลการเรียน เมื่อผ่านเกณฑ์ ครูผู้สอนจะบันทึกข้อมูลแก้ไขผลการเรียนผ่านระบบ TL-0rms และงานทะเบียนจะดำเนินการบันทึก การแก้ไขข้อมูลเข้าระบบ SGS เพื่อให้นักเรียนได้ดูผลการเรียนที่แก้ไขแล้ว